การจำแนกเมล็ดพันธ์ข้าวโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน

ผู้แต่ง

  • อนาวิล กิติธรรม aucc2024 presenter
  • กฤตกรณ์ ศรีวันนา

คำสำคัญ:

โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน การประมวลผลภาพ การจำแนกเมล็ดพันธุ์ข้าว

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอการจำแนกชนิดพันธ์ข้าวที่เป็นที่นิยมในจังหวัดเชียงราย จำนวน 3 พันธ์ ได้แก่ ข้าวปทุมธานี1 ข้าว กข6 และ ข้าวญี่ปุ่น โดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน โดยเก็บข้อมูลถ่ายภาพเมล็ดข้าวด้วยกล้องมือถือ แล้วนำมาประมวลผลภาพด้วยโปรแกรมไพทอน จากนั้นนำภาพเมล็ดข้าวที่ได้ไปทำการประมวลผลด้วยโครงข่ายประสาทเทียมแบบ คอนโวลูชัน โดยใช้อัลกอริทึม เทนเซอร์โฟล-เคราส ชนิด ซีเควนเชิล สร้างเป็นโมเดล ซึ่งงานวิจัยนี้ทำเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนกเมล็ดพันธ์ข้าว ที่ใช้วิธีการเตรียมรูปภาพที่แตกต่างกันทั้งหมด 3 รูปแบบคือ 1.ภาพสี 2.ภาพเฉดเทา 3.ภาพขาวดำ โดยงานวิจัยนี้ได้ใช้รูปเมล็ดข้าวทั้งหมด 600 ภาพ จากพันธ์ข้าวทั้งหมด 3 พันธ์ จากการตรวจสอบประสิทธิภาพของแต่ละเทคนิคดังต่อไปนี้ 1)ภาพสี มีค่าความยำ 85.55% 2)ภาพเทา มีค่าความแม่นยำ 87.22% และ 3)ภาพขาวดำ มีค่าความแม่นยำ 81.66%

References

จักรินทร์ สนุกแสน และโอฬาริก สุรินต๊ะ. (2562). โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชันเชิงลึกสำหรับการจำแนกพรรณไม้ที่อยู่ในสิ่งแวด ล้อมทางธรรมชาติ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 38(2), 113-124.

ภากร กัทชลี. (2562). Confusion Matrix เครื่องมือสำคัญในการประเมินผลลัพธ์ของการทำนาย ใน Machine learning. ค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2566, จาก https://medium.com/@pagongatchalee/confusion-matrix-เครื่องมือสำคัญในการประเมินผลลัพธ์ของการทำนาย-ในmachine-learning-fba6e3f9508c.

สุชาติ แย้มเม่น, ณรงค์ฤทธิ์ พิมพ์คำวงศ์ และโชคชรัตน์ ฤทธิ์เย็น. (2559). การจำแนกประเภทเมล็ดข้าวขาวด้วยการ ประมวลผลภาพ. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(1), 1-14.

สราวุฒิ บุญเกิดรัมย์ และณัฐวุฒิ ศรีวิบูลย์ (2563). การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพของข้าวกล้องงอกโดยใช้การประมวลผลภาพ. วารสารวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. 10(2), 101.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้าวหอมมะลิไทย (มกษ. 4000-2560). Kanoktipsatharporn, S. (2019). Convolutional Neural Network คืออะไร ภาษาไทย ตัวอย่างการทำงาน CNN, ConvNet กับชุดข้อมูล MNIST – ConvNet ep.1. from https://www.bualabs.com/archives/2461/what-is-convolutional-neural-network-cnn-convnet-mnist-deep-learning-convnet-ep-1/

Lapthanachai, N., Chomthong, A., Waijanya, S., & Promrit, N. (2023). Classification of nail abnormalities using convolutional neural network. Journal of Applied Informatics and Technology, 5(1), 18-35.

Pattana-anurak, A. (2023). What is TensorFlow. Retrieved October 10, 2023, from https://thaiconfig.com/artificial-intelligence-ai/what-is-tensorflow/

Silva, C. S., & Sonnadara U. (2013). Classification of rice grains using neural networks. In Conference: Institute of Physics Sri Lanka (IPSL). March 2013. V.29.

Sonawane, V., Gaikwad, N., Mandekar, H., Baradkar, K., & Gunjal, C. (2021). Rice quality analysis and classification using image processing techniques. International Journal of Computer Science and Mobile Computing-IJCSMC Journal, 10(6), 79-82.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

20-05-2024