การส่งบทความ

เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความ

รายการตรวจสอบก่อนส่งบทความ

ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด
  • บทความเรื่องนี้ยังไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ในระหว่างการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น (หากมีกรุณาอธิบายในข้อความถึงบรรณาธิการ)
  • จดหมายถึงบรรณาธิการ (จดหมายจะส่งไปยังบรรณาธิการเท่านั้น ไม่ส่งไปยัง reviewer)
  • บทความเตรียมในรูปแบบของไฟล์ Microsoft Word
  • Manuscript File มี 2 ไฟล์ (1) ไฟล์ที่ไม่มีชื่อและที่อยู่ผู้แต่ง (2) ไฟล์ที่มีชื่อและที่อยู่ผู้แต่ง
    Separated Manuscript File with author (s) name, affiliations and Manuscript File without author (s) name and affiliations
  • บทความเตรียมตามข้อกำหนด ทั้งในด้านของรูปแบบและการเขียนเอกสารอ้างอิง ตามคำแนะนำสำหรับผู้แต่ง (Author Guidelines)
  • บทความพิมพ์แบบใช้ระยะห่างบรรทัดปกติ (single-spaced) และ ระบุข้อมูล รูปวาด รูปภาพ และตาราง ในตำแหน่งที่เหมาะสม เป็นตามข้อกำหนดของวารสาร ใน Template
  • มีการให้ URLs ที่เข้าถึงได้ สำหรับเอกสารที่อ้างอิงจากอินเทอร์เน็ต
  • กรุณาเพิ่มรายชื่อผู้แต่งในระบบตามลำดับให้ครบถ้วนเหมือนกับใน manuscript

คำแนะนำผู้แต่ง

การเตรียมต้นฉบับ

(ทางวารสารมี Template ภาษาไทยและอังกฤษบริการโดยขอให้ผู้แต่ง download และ ปรับให้เข้า format ตามที่กำหนดใน Template ด่านล่าง)

-DOWNLOAD รูปแบบการเขียน Reference กดที่นี่

-Download Template ภาษาไทยที่นี่ (docx.)

-Download การจัดเตรียมและวิธี citation ที่นี่

ชนิดของบทความ

ผู้เขียนต้องเลือกชนิดของบทความที่จะส่งตีพิมพ์ดังต่อไปนี้

-บทความวิจัย (Research Article) เป็นบทความที่มีการดำเนินการทดลอง มีผลการทดลองที่แน่ชัด ถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์ สามารถทำซ้ำได้ เนื้อหาบทความประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ ระเบียบวิธีวิจัย/วิธีการทดลอง ผลการวิจัย วิจารณ์และข้อเสนอแนะ และบทสรุป โดยจำกัด บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิดอย่างละ 300 คำ

-บทความปริทัศน์ (Review Article) เป็นบทความบรรยายองค์ความรู้ในศาสตร์เฉพาะทางนั้น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายและขอบเขตการรับตีพิมพ์ของวารสาร โดยผู้เขียนต้องติดต่อบรรณาธิการเพื่อนำเสนอรายละเอียดเบื้องต้นก่อนการส่งตีพิมพ์ในระบบ

-รายงานฉบับย่อ (Short communications) เป็นบทความที่นำเสนอสิ่งใหม่ และต้องการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ให้ชุมชนวิทยาศาสตร์ทราบอย่างรวดเร็ว มีความสั้น กระชับและมีหลักฐานปรากฏชัดเจนในการค้นพบ เนื้อหาบทความประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ ระเบียบวิธีวิจัย/วิธีการทดลอง ผลการวิจัย วิจารณ์และข้อเสนอแนะ และบทสรุป โดยจำกัด บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิดอย่างละ 200 คำ และเอกสารอ้างอิงไม่เกิน 25 เอกสาร

Types of paper

Contributions falling into the following categories will be considered for publication:

Research Article: Manuscripts must contain high-quality results in the field. However, we also welcome confirmatory studies that study any aspects of journal aim and scope. Research of scope for the journal include a wide range of approaches and can be experimental, modelling-based or data-driven. Articles contain main text including Introduction, Material and Methods, Results and/or Discussion, and Conclusion. Word limit for abstracts is 300.

Review Article: Authors should contact the Editors-in-Chief with a proposal (title, authors, summary) before submitting. Manuscripts should conform with the instructions given for an Research Article and should be focused on a specific clearly defined topic with interesting.

Short communications: manuscript in this format should highlight particularly novel findings that fall short of criteria for an Research Article. These can be initial studies or explorative findings. Short communications should consisting of a short abstract that summarizes the main findings of the work and a continuous text without headings for separating Introduction, Materials and Methods, Results and Discussion. Word limit for abstracts is 200 and reference limit is 25. The components are to be prepared in the same format as used for research papers.

การเตรียมต้นฉบับ (ภาษาไทย)

-ตัวอักษรใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 ทั้งหมดของบทความ

-ชื่อบทความภาษาไทยใช้อักษรตัวหนา จัดกลึ่งกลาง

-ชื่อบทความภาษาอังกฤษอักษรธรรมดาขนาด จัดกลึ่งกลาง

-ชื่อผู้เขียน (ทั้งไทยและอังกฤษ) ใช้อักษรตัวหนา จัดกลึ่งกลาง

-หน่วยงานผู้เขียน (ทั้งไทยและอังกฤษ) ใช้อักษรธรรมดา จัดชิดซ้าย

-E-Mail และเบอร์โทร ใช้อักษรธรรมดา ชิดซ้าย

-รูปแบบการใช้ภาษาอังกฤษในเนื้อเรื่องภาษาไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ คำขึ้นต้นให้ใช้อักษรตัวใหญ่ และใช้ตัวอักษรเอียง ชื่อเฉพาะให้ขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่ทุกคำ

-ใช้ไฟล์ Word (doc. หรือ docx.)

-รูปภาพ ใช้นามสกุล PNG JPG หรือ TIFF โดยต้องมีความละเอียดไม่ต่ำกว่า 200 dpi

-DOWNLOAD รูปแบบการเขียน Reference กดที่นี่

-Download ตัวอย่าง Template ภาษาไทยที่นี่ (docx.)

-Download ตัวอย่าง Template ภาษาไทยที่นี่ (pdf.)

-แบบฟอร์มตรวจสอบก่อนการส่งผลงานพิจารณาตีพิมพ์

**การจัดรูปแบบทางวารสารจะดำเนินการจัดรูปแบบสำหรับตีพิมพ์และส่งให้ตรวจความถูกต้องภายหลังตอบรับตีพิมพ์

Manuscript Preparation

-Times New Roman size 12 pt (throughout manuscript)

-Title (A concise and informative title with bold and center you title on the page)

The title page should include:

  • The name(s) of the author(s)
  • The affiliation(s) and address(es) of the author(s)
  • The e-mail address, and telephone number(s) of the corresponding author

-Use editable file such as Word (doc. or docx.)

-Figure (PNG JPG or TIFF with more than 200 dpi)

-Download Template of Manuscript here (docx.)

-Download Template of Manuscript here (pdf.)

-Checklist for initial submissions

โครงสร้างของบทความ 

-ชื่อเรื่อง ใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สั้นและกระชับ หลีกเลี่ยงการใช้ชื่อย่อ ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษเฉพาะตัวอักษรแรกของชื่อเรื่องเท่านั้นที่ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ (Capital letter)  นอกนั้นใช้ตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้นชื่อเฉพาะ

-ชื่อผู้วิจัย ระบุชื่อ สกุล ของผู้วิจัยหลักและผู้ร่วมวิจัย โดยระบุสถานที่ทำงานหรือหน่วยงานที่สังกัดและอีเมล ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และเบอร์โทรศัพท์

-บทคัดย่อ (ภาษาไทยก่อนและตามด้วยภาษาอังกฤษ) สรุปสาระสำคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัยที่กระชับและชัดเจน ใช้ภาษารัดกุมเป็นประโยคสมบูรณ์และเป็นร้อยแก้ว  ไม่แบ่งเป็นข้อ ๆ โดยบทคัดย่อทั้งภาษาไทยต้องไม่เกิน 300 คำ และภาษาอังกฤษไม่เกิน 300 word

-คำสำคัญ ไทยและอังกฤษ ที่สอดคล้องกัน 3-6 คำ ขั้นระหว่างคำด้วยเครื่องหมาย ;

-บทนำ ให้เขียนอธิบายความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่ได้รับ

-ระเบียบวิธีวิจัย หรือ อุปกรณ์และวิธีการ อธิบายถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองและอธิบายวิธีการศึกษาทดลอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล

-ผลการวิจัย การเขียนเสนอผลการศึกษาควรกระชับและแสดงการวิจัยถึงผลที่ชัดเจน หากมีตาราง กราฟ หรือรูปภาพให้มีเนื้อหาหรือวิธีการอธิบายประกอบ

-วิจารณ์ผลและข้อเสนอแนะ อภิปราย วิจารณ์ผลการศึกษา เป็นการชี้แจงผลการวิจัยว่าตรงตามวัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย สอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับผลการวิจัยของผู้อื่นที่มีอยู่ก่อนหรือไม่ อย่างไร ด้วยเหตุผลใด เปรียบเทียบหรือตีความเพื่อเน้นความสำคัญของงานและสรุปให้เข้าใจง่ายที่สุด พร้อมข้อเสนอแนะ

-บทสรุป ให้เขียนสรุปสาระสำคัญของผลงานวิจัยว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ โดยเน้นถึงปัญหาหรือข้อโต้แย้งในสาระสำคัญ ตลอดจนข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์

-กิตติกรรมประกาศ อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ โดยเป็นการแสดงความขอบคุณผู้ช่วยเหลือในงานวิจัยแต่ไม่ได้เป็นผู้ร่วมในงานวิจัย และขอบคุณแหล่งทุนสนับสนุนการทำวิจัย

-เอกสารอ้างอิง ควรมีไม่ต่ำกว่า 15 รายการ และควรเป็นปัจจุบัน

-หน่วย ใช้ แบบ SI โดยให้มีรูปแบบเหมือนกันทั้งบทความ

-ชื่อรูปภาพ และตาราง คำอธิบายรูปและตารางเป็นภาษาอังกฤษ

รูปแบบการเขียนรายการอ้างอิง

การอ้างอิงเอกแบบแทรกปนไปกับเนื้อหา

-อ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว มีรูปแบบ ดังนี้

สมศรี (2552) .....                              Prathuangwong (2009) .....

.....(สมศรี, 2552)                              .....(Prathuangwong, 2009)

ใน พ.ศ. 2552 สมศรี ได้ ....                  In 2009, Prathuangwong pointed out that .....

-อ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่ง 2 คน มีรูปแบบ ดังนี้

สมศรี และ กาญจเนศ (2552) .....           Prathuangwong and Burr (2009) ......

......(สมศรี และ กาญจเนศ, 2552)           ......(Prathuangwong and Burr, 2009)

ใน พ.ศ. 2552 สมศรี และ กาญจเนศ ได้   ..... In 2009, Prathuangwong and Burr concluded that .....

-อ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งตั้งแต่ 3 คน มีรูปแบบ ดังนี้

นภาพร และคณะ (2551).....                 Boekfa et al. (2008)……

.....(นภาพร และคณะ, 2551) .......          (Boekfa et al., 2008)

ในกรณีที่มีเอกสารซึ่งมีผู้แต่งตั้งแต่ 3 คน เป็นจำนวนมากกว่า 1 ฉบับ โดยที่มีผู้แต่งคนแรกเป็นคนเดียวกัน ไม่ว่าผู้แต่งคนที่ 2 ถึงคนสุดท้าย จะเป็นชุดเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ถ้าปีที่พิมพ์เอกสารเหล่านั้นเป็นปีเดียวกัน ให้ใส่อักษร ก ข ..... ในเอกสารภาษาไทย และ a b......ในเอกสารภาษาอังกฤษ โดยใส่ไว้หลังปีของเอกสาร

-อ้างอิงเอกสารที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน

กองอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ (2552).....             Oregon State University (2009)......

-อ้างอิงเอกสารหลายฉบับที่มีผู้แต่งหลายคน (หลายชุด)

กรณี อ้างอิงเฉพาะภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษเพียงภาษาเดียว ให้เรียงลำดับตามปีที่ พิมพ์จากน้อยไปหามากและคั่นแต่ละชุดด้วยเครื่องหมาย (;) ดังนี้

อัญชลี (2550); ธนา (2551); ดุสิต และคณะ (2552).....

Wongpokhom (2008); Athinuwat et al. (2009).....

-กรณีอ้างอิงทั้งเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เรียงลำดับเอกสารภาษาไทยก่อน แล้วตามด้วยเอกสารภาษาอังกฤษ ดังนี้

อัญชลี (2550); Athinuwat (2009).....               .....(อัญชลี, 2550; Athinuwat, 2009)

-อ้างอิงหนังสือพิมพ์ กรณีอ้างข่าวทั่วไป ให้ระบุชื่อหนังสือพิมพ์และปีที่พิมพ์ ดังนี้

ไทยรัฐ (2552)......                             The New York Times (2010)......

......(ไทยรัฐ, 2552)                            ...... (The New York Times, 2010)

กรณีอ้างคอลัมน์หรือบทความในหนังสือพิมพ์ที่มีชื่อผู้เขียนไม่ว่าจะเป็นนามจริงหรือนามแฝงให้ระบุชื่อผู้เขียนและปีที่พิมพ์ ดังนี้

เปลว สีเงิน (2548)......                        Calame (2007).......

......(เปลว สีเงิน, 2548)                       ......(Calame, 2007)

รูปแบบและตัวอย่างการเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิงท้ายบทความ

-DOWNLOAD รูปแบบการเขียน Reference กดที่นี่

ขอบขอบพระคุณ ที่มา: หน่วยบรรณสารสนเทศ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

https://lib.stin.ac.th/wp-content/uploads/ข้อมูล/คู่มือ/รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม-APA-7.pdf

รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม APA 7th edition

หนังสือทั่วไป

รูปแบบ

ผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สำนักพิมพ์.

ผู้แต่ง 1 คน

พรศิริ พันธสี. (2563). กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก (พิมพ์ครั้งที่ 23). พิมพ์อักษร.

Waldman, S. D. (2021). Atlas of interventional pain management (5th ed.). Elsevier.

ผู้แต่ง 2 คน

สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์, และนริสา รัตนเลิศ. (2563). การตรวจคัดกรองสุขภาพตาเด็ก. โรงพยาบาลสงขลานครินทร์.

Stein, L. N. M., & Hollen, C. J. (2021). Concept-based clinical nursing skills: Fundamental to advanced. Elsevier.

ผู้แต่ง 1-20 คน

ใส่ชื่อทุกคน

ภาสกร เนตรทิพย์วัลย์, พรพรรณ ภูสาหัส, สมสุข ภาณุรัตน์, สุขฤดี ธัชศฤงคารสกุล, พัชรี กระจ่างโพธิ์, และวิถี ธุระธรรม. (2563). การประเมินภาวะสุขภาพสาหรับพยาบาล: การตรวจร่างกาย (พิมพ์ครั้งที่ 3). พิมพ์ดีการพิมพ์.

Kee, J. L., Marshall, S. M., Woods, K., & Forrester, M. C. (2021). Clinical calculations with applications to general and specialty areas (9th ed.). Elsevier.

ผู้แต่ง 21 คน ขึ้นไป ใส่ชื่อ 19 คนแรก

และใช้ . . . ตามด้วยคนสุดท้าย

ขนิษฐา นันทบุตร, พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย, จงกลณี จันทรศิริ, นิลภา จิระรัตนวรรณะ, สุคนธ์ วรรธนะอมร, แสงเดือน แท่งทองคำ, กชพร สิงหะหล้า, กติกา นวพันธุ์, กนกพร จิรัฐติกาลวงศ์, กนกพร จิวประสาท, กนกพร แจ่มสมบูรณ์, กนกพร อัศวเมธิกาพงศ์, กมลวรรณ จุติวรกุล, กมลวรรณ ตังธนกานนท์, กรรณิกา ชาธรรม, กรรณิการ์ มุรทาธร, กรองทอง วงศ์ศรีตรัง, กรีวุธ อัศวคุปตานนท์, กฤติน กุลเพ็ง, . . . พัฒนา นาคทอง. (2563). ชุดความรู้การพัฒนากลไกและการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชน. เดอะ กราฟิโก ซิสเต็มส์.

Hilden, I., Lauritzen, B., Sørensen, B. B., Clausen, J. T., Jespersgaard, C., Krogh, B. O., Bowler, A. N., Breinholt, J., Gruhler, A., Svensson, L. A., Petersen, H. H., Petersen, L. C., Balling, K. W., Hansen, L., Hermit, M. B., Egebjerg, T., Friederichsen, B., Ezban, M., Bjørn, S. E., . . . Abbas, A. K. (2021). Robbins basic pathology (10th ed.). Elsevier.

ผู้แต่งเป็นสถาบัน

สภาการพยาบาล. (2553). สมรรถนะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์.

หนังสือแปล

ซิงเกอร์, แบลร์. (2560). Little voice mastery [แค่จัดการเสียง (เล็กๆ) ข้างในไม่ว่าทำอะไรก็สำเร็จ!] (วิชัย กาบีร์, ผู้แปล; พิมพ์ครั้งที่ 2). ดีเอ็มจี.

บรรณาธิการ

วีณา เจี๊ยบนา (บ.ก.). (2556). การพยาบาลจิตเวช. ภาควิชาการพยาบาลอนามัยชุมชนและจิตเวช วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย.

McKinney, E. S., James, S. R., Murray, S. S., Nelson, K. A., & Ashwill, J. W. (Eds.). (2018). Maternal-child nursing (5th ed.). Elsevier.

บทความในหนังสือ

รูปแบบ

ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบท./ใน/ชื่อผู้แต่ง(บรรณาธิการ),/ชื่อหนังสือ/(ครั้งที่พิมพ์,/

///////เลขหน้าแรก-หน้าสุดท้ายของบท)./สำนักพิมพ์.

สุรพันธ์ สิทธิสุข. (2563). การสัมภาษณ์ประวัติ. ใน วิทยา ศรีดามา (บ.ก.), การสัมภาษณ์ประวัติและตรวจร่างกาย (พิมพ์ครั้งที่ 12, น. 1-7). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Gray, J. R. (2021). Discovering the world of nursing. In R. G. Jennifer, K. G. Susan (Eds.), Burns & Grove’s the practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence (9th ed., pp. 1-18). Elsevier.

Hicks, S. (2019). Examination of the skin, hair, and nails. In Carol L. C. (Ed.), Physical assessment for nurses and healthcare professionals (pp. 37-66). Wiley Blackwell.

E-book

Anderson, Y. S. C., & Poulsen, K. B. (2020). Anderson's atlas of hematology. ProQuest Ebook Central. https://ebookcentral.proquest.com

วารสาร

รูปแบบ

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่Volume(ฉบับที่Issue),/หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.

บุศรา ชัยทัศน์. (2559). การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ผ่าตัดเปิดทวารใหม่: บทบาทพยาบาลเฉพาะทางบาดแผล ออสโตมี และควบคุมการขับถ่ายไม่ได้. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 9(1), 19-33.

Plows, J. F., Stanley, J. L., Baker, P. N., Reynolds, C. M., & Vickers, M. H. (2018). The pathophysiology of gestational diabetes mellitus. International journal of molecular sciences, 19(11), 3342. https://doi.org/10.3390/ijms19113342

วิทยานิพนธ์

รูปแบบ

ชื่อผู้แต่งวิทยานิพนธ์./(ปีพิมพ์)./ชื่อวิทยานิพนธ์/[ระดับวิทยานิพนธ์]. ชื่อมหาวิทยาลัย.

วิทยานิพนธ์

ไม่มีการตีพิมพ์

อุดมลักษณ์ ดวงผุนมาตย์. (2554). ประสิทธิผลของโปรแกรมการออกกาลังกายด้วยการเดินที่ประยุกต์ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนในประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง [วิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ไม่มีการตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหิดล.

Harris, L. (2014). Instructional leadership perceptions and practices of elementary school leaders [Unpublished doctoral dissertation]. University of Virginia.

วิทยานิพนธ์

ที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่

Database/Online

กฤษณา ทรัพย์สมบูรณ์. (2560). การศึกษาการปฏิบัติบทบาทผู้นาการพยาบาลทางคลินิกของพยาบาลวิชาชีพ หอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58250

Worawalai. W. (2014). α-Glucosidase inhibitors from N-substituted aminocyclitol derivatives and total synthesis of CJ-16,264 [Doctoral dissertation, Chulalongkorn University]. https://bit.ly/3sGuBFh

Earnhart, C. L. (2018). Evaluating an on-line education module for autism screening in pediatric primary care in Arizona [Doctoral dissertation, University of Arizona]. ProQuest Nursing & Allied Health Database. https://search.proquest.com/docview/2160956827?accountid=34902

เอกสารการประชุมทางวิชาการ/การสัมมนา/การอภิปราย รายงานการประชุม

รูปแบบ

ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์,/วันที่/เดือน)./ชื่อบทความหรือชื่อเรื่องของบท/[การนำเสนอ]./ชื่อการประชุม, เมืองที่ประชุม.

 

ดรุณี รุจกรกานต์. (2555, 12-17 กุมภาพันธ์). ประเด็นปัญหาการจัดการศึกษาพยาบาลเพื่อคุณภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพ [เอกสารนำเสนอ]. การประชุมพยาบาลแห่งชาติครั้งที่ 14: เรื่อง คุณภาพ และการเข้าถึงบริการสุขภาพ: ภารกิจของพยาบาล, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.

เอกสารประกอบการสอน

รูปแบบ

ชื่อผู้แต่ง./(ปี)./ชื่อเรื่อง(ชื่อเอกสารประกอบการสอน)/[เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์]./คณะ, มหาวิทยาลัย.

 

พิมพิไล ทองไพบูลย์, กฤษณา พูลเพิ่ม, และภาวิดา พุทธิขันธ์. (2559). จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ [เอกสารที่ไม่มีการตีพิมพ์]. สถาบันการพยาบาล ศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย.

Website

Rama Channel. (2561). หกล้มในผู้สูงอายุ อันตรายกว่าวัยอื่นหลายเท่าตัว ปัญหาที่ต้องระวัง. https://bit.ly/3lgLAtS

ชัชวาล วงค์สารี. (2561). มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุและหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ [PowerPoint slides]. SlideShare. https://bit.ly/3ok6Voz

American Psychological Association. (n.d.). APA style: Learning APA style. https://apastyle.apa.org/learn/index?tab=2

-สิทธิบัตร

สุรนาจ กองเตย. 2547. แยมมะขาม. อนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์เคมี เลขที่ 1467.

วิธีเรียงบรรณานุกรม

ใช้หลักการเดียวกันกับการเรียงคำในพจนานุกรม หรือ Dictionary ที่เป็นยอมรับกันทั่วไป โดยคำที่มีตัวสะกดจัดเรียงไว้ก่อนคำที่มีรูปสระตามลำดับตั้งแต่ กก-กฮ ดังนี้

ก ข ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ฦ ฦา ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ

ส่วนคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะตัวเดียวกัน เรียงลำดับตามรูปสระ ดังนี้

อะ อัว อัวะ อา อำ อิ อี อื อุ อู เอะ เอ เอาะ เอา เอิน เอีย เอียะ เอือ เอือะ แอ แอะ โอะ โอ ใอ ไอ

 Article structure

-Title: concise and informative. Avoid abbreviations and formulae where possible.

-Author names and affiliations: please clearly indicate the given name(s) and family name(s) of each author and check that all names are accurately spelled. Present the authors' affiliation addresses (where the actual work was done) below the names. Indicate all affiliations with a lower-case superscript letter immediately after the author's name and in front of the appropriate address. Provide the full postal address of each affiliation, including the country name and, if available, the e-mail address of each author.

-Abstract: a concise and factual abstract is required. The abstract should state briefly the purpose of the research, the principal results and major conclusions. References should be avoided, but if essential, then cite the author(s) and year(s). Also, non-standard or uncommon abbreviations should be avoided, but if essential they must be defined at their first mention in the abstract itself. A concise and factual abstract not exceeding 300 words is required.

-Keywords: immediately after the abstract, please provide 4-6 keywords, separate with ;

-Introduction: state the objectives of the work and provide an adequate background, avoiding a detailed literature survey or a summary of the results.

-Material and methods: Provide sufficient details to allow the work to be reproduced by an independent researcher. Methods that are already published should be summarized, and indicated by a reference. If quoting directly from a previously published method, use quotation marks and also cite the source. Any modifications to existing methods should also be described.

-Results: Results should be clear and concise.

-Discussion and Suggestion: this should explore the significance of the results of the work, not repeat result, and compare your finding with other research.

-Conclusions: the main conclusions of the study may be presented in a short conclusions section.

-Acknowledgements: a separate section at the end of the article before the references List here those individuals who provided help during the research (e.g., providing language help, writing assistance or proof reading the article, etc.) and, if applicable, indicate project name and sources of funding which were used.

-Units: SI units should be used throughout, always be written in roman and separated from the numerical value by a space.

-Reference style

Text: All citations in the text should refer to:

  1. Single author: the author's name (without initials, unless there is ambiguity) and the year of publication;
  2. Two authors: both authors' names and the year of publication;
  3. Three or more authors: first author's name followed by 'et al.' and the year of publication.

Citations may be made directly (or parenthetically). Groups of references can be listed either first alphabetically, then chronologically, or vice versa.

Examples: 'as demonstrated (Aate, 2000a, 2000b, 1999; Aate and Jane, 1999)…. Or, as demonstrated (Jane et al., 1999)… Kramer et al. (2010) have demonstrated …

.....(Prathuangwong, 2009)... (Prathuangwong and Burr, 2009)… (Boekfa et al., 2008)… Boekfa et al. (2008)…

Reference to a journal publication:

DOWNLOAD APA Reference Style HERE!!

https://apastyle.apa.org/instructional-aids/reference-examples.pdf (Common Reference Examples Guide; APA Style)

 APA 7th edition

BOOK

1 author

Waldman, S. D. (2021). Atlas of interventional pain management (5th ed.). Elsevier.

2 authors

Stein, L. N. M., & Hollen, C. J. (2021). Concept-based clinical nursing skills: Fundamental to advanced. Elsevier.

1-20 authors

Kee, J. L., Marshall, S. M., Woods, K., & Forrester, M. C. (2021). Clinical calculations with applications to general and specialty areas (9th ed.). Elsevier.

More than 21 authors

Hilden, I., Lauritzen, B., Sørensen, B. B., Clausen, J. T., Jespersgaard, C., Krogh, B. O., Bowler, A. N., Breinholt, J., Gruhler, A., Svensson, L. A., Petersen, H. H., Petersen, L. C., Balling, K. W., Hansen, L., Hermit, M. B., Egebjerg, T., Friederichsen, B., Ezban, M., Bjørn, S. E., . . . Abbas, A. K. (2021). Robbins basic pathology (10th ed.). Elsevier.

Editorial

McKinney, E. S., James, S. R., Murray, S. S., Nelson, K. A., & Ashwill, J. W. (Eds.). (2018). Maternal-child nursing (5th ed.). Elsevier.

Book chapter

Gray, J. R. (2021). Discovering the world of nursing. In R. G. Jennifer, K. G. Susan (Eds.), Burns & Grove’s the practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence (9th ed., pp. 1-18). Elsevier.

Hicks, S. (2019). Examination of the skin, hair, and nails. In Carol L. C. (Ed.), Physical assessment for nurses and healthcare professionals (pp. 37-66). Wiley Blackwell.

E-book

Anderson, Y. S. C., & Poulsen, K. B. (2020). Anderson's atlas of hematology. ProQuest Ebook Central. https://ebookcentral.proquest.com

Journal

Plows, J. F., Stanley, J. L., Baker, P. N., Reynolds, C. M., & Vickers, M. H. (2018). The pathophysiology of gestational diabetes mellitus. International journal of molecular sciences, 19(11), 3342. https://doi.org/10.3390/ijms19113342

Thesis

Harris, L. (2014). Instructional leadership perceptions and practices of elementary school leaders [Unpublished doctoral dissertation]. University of Virginia.

Worawalai. W. (2014). α-Glucosidase inhibitors from N-substituted aminocyclitol derivatives and total synthesis of CJ-16,264 [Doctoral dissertation, Chulalongkorn University]. https://bit.ly/3sGuBFh

Earnhart, C. L. (2018). Evaluating an on-line education module for autism screening in pediatric primary care in Arizona [Doctoral dissertation, University of Arizona]. ProQuest Nursing & Allied Health Database. https://search.proquest.com/docview/2160956827?accountid=34902

Proceedings

Kirkegaard, J.A., Smith B.J., & Morra, M.J. (2001, 416-417 November). Biofumigation: soil-borne pest and disease suppression by Brassica roots. Proceedings of the 6th Symposium of the International Society of Root Research: Root Research: Japanese Society for Root Research, Nagoya, Japan.

Website

American Psychological Association. (n.d.). APA style: Learning APA style. https://apastyle.apa.org/learn/index?tab=2

 

 

Research Article

-บทความวิจัย (Research Article) เป็นบทความที่มีการดำเนินการทดลอง มีผลการทดลองที่แน่ชัด ถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์ สามารถทำซ้ำได้ เนื้อหาบทความประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ ระเบียบวิธีวิจัย/วิธีการทดลอง ผลการวิจัย วิจารณ์และข้อเสนอแนะ และบทสรุป โดยจำกัด บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิดอย่างละ 300 คำ

Review Article

-บทความปริทัศน์ (Review Article) เป็นบทความบรรยายองค์ความรู้ในศาสตร์เฉพาะทางนั้น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายและขอบเขตการรับตีพิมพ์ของวารสาร โดยผู้เขียนต้องติดต่อบรรณาธิการเพื่อนำเสนอรายละเอียดเบื้องต้นก่อนการส่งตีพิมพ์ในระบบ

Short communication

-รายงานฉบับย่อ (Short communication) เป็นบทความที่นำเสนอสิ่งใหม่ และต้องการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ให้ชุมชนวิทยาศาสตร์ทราบอย่างรวดเร็ว มีความสั้น กระชับและมีหลักฐานปรากฏชัดเจนในการค้นพบ เนื้อหาบทความประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ ระเบียบวิธีวิจัย/วิธีการทดลอง ผลการวิจัย วิจารณ์และข้อเสนอแนะ และบทสรุป โดยจำกัด บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิดอย่างละ 200 คำ และเอกสารอ้างอิงไม่เกิน 25 เอกสาร

นโยบายส่วนบุคคล

ข้อถือสิทธิ์

-บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์

-การส่งบทความตีพิมพ์และกระบวนการพิจารณาบทความไม่มีค่าใช้จ่าย

ประกาศเกี่ยวกับลิขสิทธิ์

-บทความ ข้อมูล เนื้อหา ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตจากวารสาร

-วาสารมีความเป็นกลางในด้านรูปภาพโดยเป็นนความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง รวมทั้งเนื้อหาบทความที่ปรากฏในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงเช่นกัน ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือมีส่วนร่วมรับผิดชอบใด ๆ

-หากตรวจพบการคัดลอกบทความวิจัย (plagiarism) จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งผลงานตีพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว

นโยบายส่วนบุคคล

ชื่อ ที่อยู่ และข้อมูลทางสารสนเทศ หรือข้อมูลส่วนบุคคล ที่ในเว็บไซต์วารสารนี้ใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในงานวารสารเท่านั้นและจะไม่เปิดเผยเพื่อวัตถุประสงค์ในกิจกรรมอื่น ๆ หรือให้กับบุคคลหรือหน่วยงานอื่นใดทราบ