สภาวะที่เหมาะสมในการปรับสภาพ และการย่อยเปลือกสับปะรด และชานอ้อยด้วยวิธีทางเคมีร่วมกับกายภาพ
คำสำคัญ:
การปรับสภาพ, เปลือกสับปะรด, ชานอ้อย, การย่อยบทคัดย่อ
การหาสภาวะที่เหมาะสมในการปรับสภาพเปลือกสับปะรดและชานอ้อย โดยก่อนปรับสภาพเปลือกสับปะรดมีปริมาณเซลลูโลส 71.50 % ลิกนิน 5.00 % โฮโลเซลลูโลส 56.75 % และชานอ้อยมีปริมาณเซลลูโลส 79.50 % ลิกนิน 13.00 % โฮโลเซลลูโลส 82.75% มีการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ กรดไฮโดรคลอลิกและแอมโมเนียมซัลเฟต ปรากฏว่าการปรับสภาพเปลือกสับปะรดด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ 2 % จะได้ปริมาณเซลลูโลส 91.50 % ลิกนิน 4.00 % โฮโลเซลลูโลส 95.25 % ซึ่งได้ปริมาณเซลลูโลสหลังปรับสภาพสูงที่สุด ส่วนชานอ้อยการปรับสภาพด้วยกรดไฮโดรคลอริก 2 % จะได้ปริมาณเซลลูโลส 85.00 % ลิกนิน 10.00 % และ โฮโลเซลลูโลส 88.75 % เมื่อวัตถุดิบที่ผ่านการปรับสภาพมาย่อยให้ได้น้ำตาลรีดิวซ์โดยวิธีทางเคมีร่วมกับกายภาพ ปรากฏว่าเปลือกสับปะรดใช้กรดซัลฟิวริก 1 % ร่วมกับการใช้หม้อนึ่งความดันไอน้ำโดยใช้เวลา 40 นาที จะได้ปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์สูงที่สุด (26,273.35 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ส่วนชานอ้อยที่ใช้กรดซัลฟิวริก 1 % ร่วมกับโซนิเคทโดยใช้เวลา 40 นาที จะได้ปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์สูงที่สุด (1,957.80 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร)
References
มิณฑิตา พิเชฐพงศ์วิมุติ. (2561). การแยกเซลลูโลสและกลูโคสจากสารละลายไฮโดรไลเซทของหญ้าเนเปียร์ ด้วยการกรองระดับอัลตราฟิลเตรชันและนาโนฟิลเตรชัน. ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมมงคลธัญบุรี.
สาลินี ศรีวงษ์ชัย. (2560). การผลิตไบโอดีเซลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยกระบวนการเทคโนโลยีชีวภาพ. มหาวิทยาลัยบูรพา.
สังเวย เสวกวิหารี. (2562). การผลิตเอทานอลจากเปลือกแตงโมโดยกระบวนการหมัก. สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
นาวัร ยูโซ๊ะและสาพีเย๊าะ กูนิง. (2544). ประสิทธิภาพของสารดูดวับความชื้นจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
รัชพล พะวงศ์รัตน์. (2558). กระบวนการปรับสภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรประเภทลิกโนเซลลูโลส. Science and Technology. 2(1). 142-157.
วิทยา ปั้นสุวรรณ, ศิริพร เสนียุทธ, เสาวภาคย์ สาริมาน และกุลธิดา อินทรัต. (2544). การผลิตเยื่อที่มีแอลฟาเซลลูโลสสูงและไซโลสจากชานอ้อยโดยวิธีระเบิดด้วยไอน้ำ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Boonwong, T., Karnnasuta, S., & Srinorakutara, T. (2014). Agricultural wastes potential (pineapple crown, durian peel and sugarcane leaves) on reducing sugar production by using sulfuric acid pretreatment following enzymatic hydrolysis. Asia-Pacific Journal of Science and Technology, 19(3), 361–370.
Browing, B. L. (1963). Chlorite Holocellulose. Handbook of Wood Chemistry and Wood Composite. New york,Interscience Publishers.
Choonut, A., Saejong, M., & Sangkharak, K. (2014). The Production of Ethanol and Hydrogen from Pineapple Peel by Saccharomyces Cerevisiae and Enterobacter Aerogenes. Energy Procedia, 52, 242 – 249.
Debiagi, F., Madeira, T. B., Nixdorf, S. L., & Mali, S. (2020). Pretreatment Efficiency Using Autoclave High-Pressure Steam and Ultrasonication in Sugar Production from Liquid H ydrolysates and Access to the Residual Solid Fractions of Wheat Bran and Oat Hulls. Applied Biochemistry and Biotechnology, 190(1), 166–181.
Harmsen, P. F. H. (Paulien). (2010). Literature review of physical and chemical pretreatment processes for ignocellulosic biomass. Wageningen UR, Food & Biobased Research.
Mankar, A. R., Pandey, A., Modak, A., & Pant, K. K. (2021). Pretreatment of lignocellulosic biomass: A review on recent advances. Bioresource Technology, 334, 125235.
Miller, G. L. (1959). Use of dinitrosalicylic acid reagent for determination of reducing sugars. Analytical Chemistry, 31(3), 426–428.
Pal, S., Handa, J., & Jain, U. K. (2017). Chemical Hydrolysis Optimization for Release of Sugars from Wheat Bran. In IJISET-International Journal of Innovative Science, Engineering & Technology (Vol. 4).
TAPPI T203 om-88. (1992). Alpha, bata, and grama cellulose in pulp.
TAPPI T222 om-88. (1988). Acid-insoluble lignin in wood and pulp.
Wang, D., Tian, J., Guan, J., Ding, Y., Wang, M.L., Tonnis, B.D., Liu, J., & Huang, Q. (2022). Valorization of sugarcane bagasse for sugar extraction and residue as an adsorbent for pollutant removal. Frontiers in Bioengineering and Biotechnology, 10.
Xu, P., Shu, L., Li, Y., Zhou, S., Zhang, G., Wu, Y., & Yang, Z. (2023). Pretreatment and composting technology of agricultural organic waste for sustainable agricultural development. Heliyon, 9(5), e16311.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์ปรีดียาธร

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์ เติมด้วยค่ะ