ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของข้าวไรซ์เบอร์รีที่หมักกับเห็ดแครง

ผู้แต่ง

  • อุรารักษ์ ร่มรื่น ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
  • สุดาวรรณ วิเศษสิงห์ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
  • กษิดิศ เด็ดขาด ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000

คำสำคัญ:

เห็ดแครง, ข้าวไรซ์เบอร์รี, การหมักแบบอาหารแข็ง, สารประกอบฟีนอลิก, ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของเห็ดแครง Schizophyllum commune ที่เจริญบนข้าวไรซ์เบอร์รีโดยกระบวนการหมักแบบอาหารแข็ง โดยศึกษาผลของการเติมกลูโคสและสารสกัดจากยีสต์ เมื่อเห็ดแครงเจริญบนข้าวไรซ์เบอร์รีเป็นเวลา 14 วัน จะถูกนำมาอบแห้งและสกัดหยาบด้วยตัวทำละลาย  2 ชนิด คือ เอทิลอะซิเทตและเมทานอล พบว่าสารสกัดเมทานอลมีปริมาณร้อยละของสารสกัดหยาบมากกว่าเอทิลอะซิเทต การลงเชื้อและการเติมกลูโคสและสารสกัดจากยีสต์ไม่มีผลต่อปริมาณร้อยละของสารสกัดหยาบ  อย่างไรก็ตามการลงเชื้อ การเติมกลูโคสและสารสกัดจากยีสต์ช่วยเพิ่มปริมาณสารประกอบฟีนอลิกในสารสกัดได้ แต่ชนิดของตัวทำละลายไม่มีผลต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิก นอกจากนี้เมื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging assay พบว่าค่า IC50 ในทุกการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

References

นฤมล มงคลธนวัฒน์. (2557). เห็ดแครง : เห็ดพื้นบ้านที่มากด้วยคุณค่า. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, 23(1), 1-10.

ประมวล ทรายทอง และ สุเมธ เทศกุล. (2565). การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ข้าวไทยเพื่อการผลิตมิริน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 30(1), 38-50.

มลธิรา ศรีถาวร, พุทธวรรณ วาตะ, จิระดา พรมลา และสาคร ชินวงค์. (2562). ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและฤทธิ์ต้านสารอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบส่วนดอกและส่วนเส้นใยของเห็ดถั่งเช่าสีทอง. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University, 6(5), 33-47.

อาทิตยาพัณณ์ กันนิกา. (2562). การศึกษาสภาวะการเพาะเลี้ยงและกระบวนการอบแห้งเพื่อผลิตหัวเชื้อโพรไบโอติกด้วยกากถั่วเหลือง [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี]. Intellectual Repository at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3646

Acosta-Estrada, B. A., Villela-Castrejón, J., Perez-Carrillo, E., Gómez-Sánchez, C. E., & Gutiérrez-Urib, J. A. (2019). Effects of solid-state fungi fermentation on phenolic content, antioxidant properties and fiber composition of lime cooked maize by-product (nejayote). Journal of Cereal Science, 90, 102837. https://doi.org/10.1016/j.jcs.2019.102837

Lizardi-Jiménez, M. A., & Hernández-Martínez, R. (2017). Solid state fermentation (SSF): diversity of applications to valorize waste and biomass. 3 Biotech, 7, 44. https://doi.org/10.1007/s13205-017-0692-y

Londoño-Hernández, L., García-Gómez, M., Huerta-Ochoa, S., Polanía-Rivera, A. M., Aguilar, C. N., & Prado-Barragán, L. A. (2024). Effect of glucose concentration on the production of proteolytic extract by different strains of Aspergillus under solid state fermentation. Fermentation, 10, 97. https://doi.org/10.3390/fermentation10020097

Sánchez-García, J., Asensio-Grau, A., García-Hernández, J., Heredia, A., & Andrés, A. (2022). Nutritional and antioxidant changes in lentils and quinoa through fungal solid-state fermentation with Pleurotus ostreatus. Bioresources and Bioprocessing, 9, 51. https://doi.org/10.1186/s40643-022-00542-2

Settapramote, N., Utama-ang, N., Petiwathayakorn, T., Settakorn, K., Svasti, S., Srichairatanakool, S., & Koonyosying, P. (2021). Antioxidant effects of anthocyanin-rich Riceberry™ rice flour prepared using dielectric barrier discharge plasma technology on iron-induced oxidative stress in mice. Molecules, 26(16), 4978. https://doi.org/10.3390/molecules26164978

Sharma, A., Vivekanand, V., & Singh, P. R. (2008). Solid state fermentation for gluconic acid production from sugarcane molasses by Aspergillus niger ARNU-4 employing tea waste as the novel solid support. Bioresource Technology, 99(9), 3444-3450. https://doi.org/10.1016/j.biortech.2007.08.006

Shin, H. Y., Kim, S. M., Lee, J. H., & Lim, S. T. (2019). Solid state fermentation of black rice bran with Aspergillus awamori and Aspergillus oryzae. Food Chemistry, 272, 235-241. https://doi.org/10.1016/j.foodchem.2018.07.174

Wang, J., Jiang, Q., Huang, Z., Wang, Y., Roubik, H., Yang, K., Cai, M., & Sun, P. (2023). Solid state fermentation of soybean meal with edible mushroom mycelium to improve its nutritional, antioxidant capacities and physicochemical properties. Fermentation, 9, 322. https://doi.org/10.3390/fermentation9040322

Xu, L., Guo, S., & Zhang, S. (2018). Effects of solid-state fermentation with three higher fungi on the total phenol contents and antioxidant properties of diverse cereal grains. FEMS Microbiology Letters, 365(16), 1-8. https://doi.org/10.1093/femsle/fny163

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-22

How to Cite

ร่มรื่น อ. ., วิเศษสิงห์ ส. ., & เด็ดขาด ก. (2025). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของข้าวไรซ์เบอร์รีที่หมักกับเห็ดแครง. ศวท : ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (LAS: Liberal Arts, Science and Technology), 2(1), 14–19. สืบค้น จาก https://li04.tci-thaijo.org/index.php/art-science/article/view/3227