ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยทำงาน จังหวัดสุพรรณบุรี
Keywords:
Breast Cancer Self-examination Screening Behaviors, Women Workers.Abstract
The objectives of this research study were to 1) the level of breast cancer self-examination screening behaviors among women workers 2) the correlation between personal factors, breast cancer literacy and motivation protection in disease with breast cancer self-screening behavior of working women and 3) the factor affecting to breast cancer self-examination screening behaviors among women workers. The sample group consisted of 394 women workers in Suphan Buri Province. Selected by simple random sampling. Data were collected by questionnaires and analyzed by descriptive statistics, Chi-square, Pearson's correlation coefficient, and stepwise multiple regression. The objectives test results showed that 1) the breast cancer self-examination screening behaviors among women workers was at the moderate level ( = 67.25) 2) the personal factors include marital status and age, breast cancer literacy and motivation protection in disease were correlated with breast cancer self-screening behavior of working women and 3) the breast cancer literacy factor and motivation protection in disease factor can explain variations in breast cancer self-examination screening behaviors among women workers 57%. (Adjusted R2 = 0.57, p-value <0.05). Additionally, the development approach is that relevant agencies can use the research results to plan to promote breast cancer awareness and create incentives for breast cancer prevention so that working women have the behavior of self-screening for breast cancer, which will result in an increase in the coverage of breast cancer self-screening among working women.
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2567). รายงานมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ. http://hdcservice.moph.go.th
กองสุขศึกษา. (2556). คู่มือการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ขนิษฐา แสงคำ, สุมัทนา กลางคาร, ศิรภัสร์ โคตรสีวงษ์, และรุจิรา โนนสะอาด.. (2567). ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการตรวจคัfกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองในผู้หญิงวัยผู้ใหญ่บ้านเขียบ ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 10(3): 152-163.
คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล. (2555). มะเร็งเต้านมเรื่องที่น่ารู้และข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านม. ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.
ถนอมศรี อินทนนท์, และรุจิรา อ่ำพัน. (2567). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี อายุ 30 –70 ปีในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลบ้านปรือใหญ่ อำเภอขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารวิจัยและพัฒนาสุขภาพศรีสะเกษ, 2(1), 113-124
ทิพวรรณ สมควร. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมของสตรีวัยเจริญพันธุ์ในจังหวัดลำปาง. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 18(1), 45-56.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, และพิศมัย เสรีขจรกิจเจริญ. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยทางการสาธารณสุข: กรณีศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร. จามจุรีโปรดักส์ จำกัด.
พาสนา จุลรัตน์. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลักขณา ประมูลพงศ์ และคณะ. (2562). ความรู้และพฤติกรรมการตรวจเต้านมตนเองของสตรีไทยอายุ 30-70 ปี ในเขตบริการสุขภาพที่ 10. https://hpc10.anamai.moph.go.th/th/dbresearch-hpc10/download?id=106329&mid=37940&mkey=m_document&lang=th&did=37864
วิภารัตน์ ชุมหล่อ. (2567). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งเร็งเต้านมของสตรี อายุ 30-70 ปี ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแสงวิมาน ตำบลคลองน้อย อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. https://hpc11.anamai.moph.go.th/web-upload/36xdf1a160968c82a4ff9f703b4db4d757d/202108/m_news/34909/206091/file_download/c2cdc78ac3b6a8af0b590ac30a5aa490.pdf
ศิรกาญจน์ ฉันทเฉลิมพงศ์, พิมผกา ปัญโญใหญ่, และณยฎา ธนกิจธรรมกุล. (2566). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมของสตรีวัยทำงาน จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 39(2), 68-80.
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. (2560). แนวทางการตรวจคัดกรองวินิจฉัยและการรักษาโรคมะเร็งเต้านม. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2541). นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุง). สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.
สุชาดา นนทะภา, และรุ้งระวี นาวีเจริญ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการป้องกันโรคกับพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมของครูในโรงเรียบประจำจังหวัด เขตภาคกลาง. วารสารการพยาบาลเกื้อการุณ, 24(2), 23-35.
อภิญญา กอเด็ม, ศศิกาญจน์ นิเฮาะ, และจรัญ เจริญมรรค(2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอายุ 30-70 ปี ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส. วารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม, 2(3), 18-34.
อุบล เลียววาริน. (2534). ความสัมพันธ์ของการศึกษาที่มีต่อจิตลักษณะและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
Allen, L., & Santrock, J. (1993). Psychology: The contexts of behavior. William C. Brown.
American Cancer Society. (2024). Study Finds Early Palliative Care Remains Underused Among Patients With Advanced Cancer. https://pressroom.cancer.org/
Azita N., & Rahim T. (2011). Factors Influencing Breast Cancer Screening Behavior among Iranian Women. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 12(5), 1239-1244.
Bloom, A. (1979). The education of democratic man: Emile. Daedalus, 25(1), 135–153.
Kasl, S. V., & Cobb, S. (1966). Health behavior, illness behavior and sick role behavior. Archives of Environmental Health, 12(4), 246-266.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607–610.
Prentice-Dunn, S., & Rogers, R. W. (1986). Protection Motivation Theory and preventive health: Beyond the Health Belief Model. Health Education Research, 1(3), 153–161.
Saeed Bashirian, Majid Barati, Leila Moaddab Shoar, Younes Mohammadi and Mitra Dogonchi. (2019). Factors
Affecting Breast Self-examination Behavior Among Female Healthcare Workers in Iran: The Role of Social Support Theory. Journal Prev Med Public Health, 52(4), 224–233.
World Health Organization. (2009). Milestones in health promotion: Statements from global conferences. World Health Organization.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
Categories
License
Copyright (c) 2025 ศวท : ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.